โรคเบาหวานคืออะไร
โรคเบาหวาน (Diabetes) เป็นโรคชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของฮอร์โมนที่ชื่อว่า “อินซูลิน (Insulin)” ซึ่งฮอร์โมนตัวนี้ เป็นฮอร์โมนที่ทำหน้าที่นำพาน้ำตาลที่อยู่ในกระแสเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะที่สมองและกล้ามเนื้อ
เมื่ออินซูลินเกิดความผิดปกติ ทำงานได้ไม่เต็มที่ น้ำตาลที่อยู่ในกระแสเลือดจึงไม่ถูกนำไปใช้ ทำให้น้ำตาลในกระแสเลือดมีมากเกินจนสูงเกิดเกณฑ์ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ทำให้เกิดเป็นโรคเบาหวานขึ้นมานั่นเอง
อินซูนลิน ถูกสร้างและหลั่งจากเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อน ทำหน้าที่เผาผลาญคาร์โบไฮเดรตและไขมัน หลังจากนั้นจะเปลี่ยนเป็นน้ำตาลเพื่อนำส่งไปยังเนื้อเยื้อของร่างกาย เป็นฮอร์โมนที่ร่างกายสามารถสร้างได้เอง แต่ฮินซูลินที่ใช้ในทางการแพทย์ เป็นอินซูลินสังเคราะห์ที่ถูกสร้างมาเพื่อรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานโดยเฉพาะ |
นอกจากโรคเบาหวาน จะเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับอินซูลินแล้ว โรคนี้ยังมีความเกี่ยวกับอวัยวะส่วนอื่นในร่างกายด้วย หากผู้ป่วยโรคเบาหวาน ไม่ได้รับการรักษาและดูแลอย่างถูกวิธี ก็มีโอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง ตามมาในที่สุด
อาการของโรคเบาหวานสังเกตได้ถ้าใส่ใจ
อาการเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ส่วนใหญ่แล้วจะสามารถสังเกตได้อย่างชัดเจนหากผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งอาการเบื้องต้นที่สังเกตได้ ขอแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
- อาการที่เกิดจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
- เหงื่อออกง่ายกว่าปกติ
- ใจสั่น มือสั่น
- รู้สึกหิวบ่อย รับประทานมากขึ้น
- รู้สึกอ่อนเพลีย แขนขาไม่ค่อยมีแรง
- มึนเบลอ
- วูบ หมดสติ
- อาการที่เกิดจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
- กระหายน้ำมาก ดื่มน้ำบ่อย
- ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะตอนกลางคืน
- น้ำหนักลด หรือเพิ่มขึ้นผิดปกติ
- คลื่นไส้ อาเจียน
- ปวดท้องบ่อย ๆ
- วูบ หมดสติ
นอกจากอาการเหล่านี้ ผู้ป่วยบางคนอาจมีอาการชาที่มือ ชาที่เท้า ผิวหนังส่วนต่าง ๆ มีสีเข้มขึ้น เช่น คอ รักแร้ ใต้ราวนม เป็นต้น และบางคนเมื่อเป็นแผลแล้วก็หายได้ช้ากว่าปกติด้วย
อาการของโรคเบาหวาน หากปล่อยไว้นาน จะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ตามมาได้ เช่น โรคหลอดเลือด โรคไต เป็นต้น
รู้หรือไม่? ว่าตัวเองเป็นโรคเบาหวานชนิดใด?
โรคเบาหวาน สามารถแบ่งแยกประเภทออกได้เป็น 4 ชนิด ตามสาเหตุของการเกิดโรค ได้แก่
- โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes mellitus, T1DM)
เป็นโรคเบาหวานที่มีสาเหตุการเกิดมาจากเซลล์ตับอ่อนถูกทำลาย ทำให้ร่างกายขาดอินซูลิน โรคเบาหวานชนิดนี้ ส่วนใหญ่แล้วจะพบได้ในเด็ก และคนที่มีอายุต่ำกว่า 30 ปี สังเกตได้ในผู้ที่มีร่างกายผอมแห้ง เมื่อเป็นโรคเบาหวานแล้วจะมีอาการรุนแรง ต้องได้รับการรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน - โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus, T1DM)
เป็นชนิดของโรคเบาหวานที่สามารถพบได้มากที่สุด โดยสูงถึงร้อยละ 95 ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด เกิดจากร่างกายดื้ออินซูลิน โรคเบาหวานชนิดนี้ ส่วนใหญ่จะพบในผู้ใหญ่ ผู้สูงวัย ผู้ที่มีน้ำหนักตัวมาก และผู้ที่มีคนในครอบครัวมีประวัติเป็นเบาหวาน - โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes mellitus, GDM)
โรคเบาหวานชนิดนี้ เป็นโรคเบาหวานแบบชั่วคราว มักจะเกิดกับผู้ที่ตั้งครรภ์ในไตรมาสที่ 2-3 เมื่อคลอดบุตรแล้วก็จะหายจากโรคเบาหวาน แต่ก็ยังมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ในอนาคต - โรคเบาหวานชนิดพิเศษ (specific types of diabetes due to other causes)
เป็นโรคเบาหวานที่สามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง (ส่งผลต่อการสร้างอินซูลิน) โรคที่เกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางชนิด หรือการรับประทานยาบางชนิดที่มีส่วนประกอบของสเตียรอยด์ เป็นโรคเบาหวานที่ต้องรักษาตามสาเหตุของการเกิดโรคนั้น ๆ
กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานชนิดที่ 2
อย่างที่ได้บอกไปข้างต้นว่า โรคเบาหวานชนิดที่ 2 พบได้มากที่สุดของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด นั้นแปลว่าทุกคนมีโอกาสที่จะเป็นโรคเบาหงานชนิดที่ 2 ได้ทั้งนั้น แต่ถ้าให้ตีวงให้แคบลง แล้วระบุว่า มีใครบ้างที่เข้าข่ายผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ก็อาจจะเป็นบุคคล้หล่านี้
- ผู้ที่รูปร่างท้วม น้ำหนักเกินเกณฑ์ โดยมีค่าเฉลี่ยมวลกาย (BMI) อยู่ที่ 23-24.90
- ผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย ร่างกายมีการเผาผลาญน้อย
- ผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดันสูง มีโอกาสเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้เช่นกัน
- ผู้ที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2
- ผู้ชายที่อายุ 40 ปีขึ้นไป
- ผู้หญิงตั้งครรภ์
หากคุณเป็นคนที่เข้าข่ายที่จะกลายเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีอาการของโรคเบาหวานที่ได้กล่าวมาต้้งแต่ต้นบทความ ควรรีบดูแลตัวเอง หมั่นตรวจสุขภาพประจำปี และพบแพทย์โดยด่วน หากมีอาการผิดปกติ เพื่อหาแนวทางรักษา หรือป้องกันไม่ให้เกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 กับตัวเอง
ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
ประเทศไทย มียอดผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานมากุคง 8,000 คนต่อปี ซึ่งมีทั้งผู้สูงอายุ และคนรุ่นใหม่ที่ขาดการใส่ใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะป่วยเป็นเบาหวานได้ง่าย ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า “โรคเบาหวาน เป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้เกิดโรคร้ายแรงอื่น ๆ ตามมา“
โดยภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
- ภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน : เกิดแบบเฉียบพลันไม่ทันได้ตั้งตัว ไม่มีสัญญาณเตือน เมื่อเกิดแล้วอาการจะรุนแรง ต้องรีบทำการรักษาโดยด่วน ได้แก่ ภาวะหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเกินไป ภาวะเลือดเป็นกรด ภาวะชักเกร็ง
- ภาวะแทรกซ้อนแบบเรื้อรัง : มักจะเกิดกับผู้ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานมานาน อย่างต่ำ 5 ปี โดยจะเกิดความเสื่อมของเส้นเลือดตามอวัยวะต่าง ๆ เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด บริเวณที่เส้นเลือดเสื่อม ได้แก่ สมอง หัวใจ ตา ไต เส้นเลือดที่ขา และระบบประสาท
ซึ่งภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน มักจะเป็นอาการด้านล่างนี้
เบาหวานขึ้นตา
เรียกได้ว่าเป็นภาวะแทรกซ้อนทางตา ที่เกิดขึ้นได้บ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน มีทั้งจอประสาทตาเสื่อม ไปจนถึงขั้นตาบอด หลายคนมักเรียกอาการแทรกซ้อนทางตาว่า “เบาหวานขึ้นตา” มีสาเหตุมาจากเส้นเลือดในจอประสาทตาเริมอักเสบ โป่งพอง และมีเลือด น้ำหนองไหลซึมออกมา แต่ไม่ต้องตกใจ เพราะอาการนี้ไม่ใช่อาการแทรกซ้อนเฉียบพลัน แต่เป็นอาการแทรกซ้อนเรื้อรัง ที่จะค่อย ๆ แสดงอาการ ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานบางคนไม่ทันรู้ตัว
ผู้ป่วยบางรายละเลยคำแนะนำของแพทย์ ทำให้อาการเบาหวานขึ้นตาร้ายแรงถึงจุดศูนย์กลางของการรับภาพ หลอดเลือดและผังผืดบริเวณตามีผนังไม่แข็งแรง ขาดง่าย อาจนำไปสู่ขั้นร้ายแรงสุด คือ ตาบอดสนิทได้
เบาหวานลงไต
รู้หรือไม่ว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ร้อยละ 20-40 มีโอกาสเป็นเกิดภาวะไตวายได้ ซึ่งมีสาเหตุมาจากระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงกว่าปกติ ทำให้ไตทำงานหนัก เพราะต้องกรองน้ำตาลให้คงไว้ในร่างกายอยู่ตลอดเวลา จนเกิดการเสื่อมสภาพ เมื่อไตเกิดความผิดปกติ ก็นำไปสู่ปัญหาไตไม่สามารถกรองโปรตีนให้ร่างกายได้ โปรตีนจึงอยู่ในปัสสาวะจำนวนมาก เมื่อเป็นแบบนี้เรื่อย ๆ จึงนำไปภาวะไตวายในอนาคต
ชาปลายมือปลายเท้า
อาการนี้เป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานที่เกิดขึ้นบริเวณเส้นประสาท ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกมีอาการช้าที่ปลายมือ ปลายเท้า พอมีอาการชา เวลาที่เกิดแผลก็จะไม่รู้สึกตัว หากเกิดแผลแล้ว แผลก็จะหายช้า เป็นเหตุทำให้เกิดปัญหาแผลที่เท้าลุกลามจนอาจถูกตัดนิ้ว หรือตัดเท้าบางส่วน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคหลอดเลือดส่วนปลายอุดตันร่วมด้วย
เส้นเลือดแดงใหญ่อุดตัน
อวัยวะที่มีเส้นเลือดใหญ่ได้แก่ สมอง หัวใจ และเท้า ผู้ป่วยเบาหวาน มีโอกาสที่จะป่วยเป็นโรคเส้นเลือดในสมองตีบ กลายเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เส้นเลือดหัวใจตีบตัน หรือเกิดการตีบตันของเส้นเลือดบริเวณขา ทำให้ปวดน่อง อาการหนักสุด คือ บริเวณที่เกิดเส้นเลือดตีบตันเกิดเนื้อเยื่อตายก็อาจจะถูกตัดส่วนนั้นทิ้งเพื่อรักษาชีวิตของผู้ป่วยก็ได้
เส้นเลือดหัวใจตีบ
ผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดโรคหัวใจ มีโอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนได้มากกว่าผู้ที่ไม่ได้เป็นเบาหวาน มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวกว่าผู้ป่วยทั่วไปสูงถึง 1.5 เท่า และมีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 2 เท่าเลย เป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง มีโอกาสที่จะเกิดหัวใจวาย หัวใจเต้นผิดจังหวะ เสียชีวิตเฉียบพลันได้
เส้นเลือดสมองตีบ
ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอายุมากกว่า 70 ปี มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบ โดยอัตราการเกิดของโรคนี้ในผู้ป่วยเบาหวาน เท่ากับร้อยละ 3.5 และปัจจัยเสี่ยงรองลงมาที่อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนนี้ได้ คือ มีโรคความดันโลหิต และระดับไขมันในเลือดผิดปกติร่วมด้วย
การรักษาโรคเบาหวาน
อย่างที่ทราบกันดีว่า โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ก็เป็นโรคที่ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ หากมีการดูแลตัวเองที่ดี ซึ่งการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากแพทย์ พยาบาล นักโภชนาการ และตัวผู้ป่วยเอง สิ่งสำคัญของการรักษาโรคนี้ คือ ต้องควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปกติ ด้วยการคุมอาหาร และใช้ยาร่วมด้วย นอกจากนี้ควรมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และควรมีการติดตามการรักษา เพื่อลดความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น
การดูแลโรคเบาหวานไม่ให้อาการหนัก ไม่ให้น้ำตาลสะสมเกินเกณฑ์ ซึ่งเป้าหมายของผู้ป่วยแต่ละคนไม่เท่ากัน แต่สามารถดูแลค่าน้ำตาลด้วยวิธีที่คล้าย ๆ กัน ตามด้านล่างนี้เลย
การคุมอาหาร
เป็นวิธีที่ควรทำอย่างยิ่ง เพราะน้ำตาลในร่างกาย ส่วนใหญ่มักมาจากการรับประทานอาหาร ฉะนั้นการคุมอาหารจึงเป็นวิธีการรักษาหลักที่ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรให้ความสำคัญที่สุด ซึ่งหลัก ๆ แล้ว อาหารของผู้ป่วยเบาหวานจะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
- อาหารที่ทานได้ไม่จำกัด ได้แก่ ผักใบเขียวทุกชนิด ที่ให้พลังงานต่ำ มีกากใยสูง
- อาหารที่ทานได้ในปริมาณที่จำกัด ได้แก่ แป้งแนะนำให้รับประทาน 6-11 ส่วนต่อวัน เนื้อสัตว์ไม่ติดหนัง 3-5 ส่วนต่อวัน ไขมัน ผลไม้ เกลือ ก็ควรทานในปริมาณที่จำกัดเช่นกัน
- อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ อาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายอยู่เป็นประจำ จะช่วยให้อินซูลินในร่างกายของผู้ป่วยเบาหวาน ทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งการออกกำลังกายที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ขอแนะนำเป็น การออกกำลังกายชนิดแอโรบิก ว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์ ซึ่งอาจจะเฉลี่ยให้ได้ 4-5 ครั้งต่อสัปดาห์ และใช้เวลาแต่ละครั้ง 20-45 นาที หากนานกว่านี้จะทำให้เกล็ดน้ำตาลในเลือดต่ำ และหากน้อยกว่านี้ก๋จะไม่เกิดผลประโยชน์อะไร
การใช้ยา
ส่วนใหญ่แล้ว การรักษาโรคเบาหวานโดยการใช้ยา จะพิจาณาจากชนิดของเบาหวานเป็นหลัก เช่น หากเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ก็ควรรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน หากเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ก็จะมีการรักษาที่พิจารณาตามอาการของภาวะแทรกซ้อนขแงโรคเบาหวานควบคู่ไปด้วย
ใช้สมุนไพรรักษาเบาหวาน
นอกจากการใช้ยาแล้ว ในปัจจุบันก็ได้มีคิดค้น และวิจัยสารสกัดจากสมุนไพร และค้นพบว่า สมุนไพรบางชนิด มีส่วนช่วยในการลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ เช่น ตำลึง มะระขี้นก ว่านหางจระเข้ อบเชย ขิง ใบเตย ขี้เหล็ก เป็นต้น
GLUCON (กลูคอน) สมุนไพรรวมต้านเบาหวาน
บางคนที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานมานานหลายปีแล้ว กินยารักษามานาน บางครั้งจะมีความกังวลเรื่อง สารเคมีที่สะสมในร่างกาย กลัวไตเสื่อม เพราะการกินยาเป็นระยะเวลานาน ทำให้ไตทำงานหนัก เนื่องจากไตเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่กรองของเสีย รวมถึงสารเคมีที่อาจตกค้างจากการใช้ยา แต่ในปัจจุบันนอกจากสารเคมีแล้ว ยังมีสมุนไพรจากธรรมชาติ ที่มีสรรพคุณช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดได้
GLUCON (กลูคอน) ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่สกัดจากสมุนไพรรวม ทางเลือกใหม่ สำหรับผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องการลดการทานยา แล้วปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตัวเอง หันมาใช้สมุนไพรทางเลือกในการลดระดับน้ำตาลในเลือด
- ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
- กระตุ้นการหลั่งอินซูลิน
- ลดการดูดซึมน้ำตาลกลูโคสเข้าสู่เซลล์บริเวณลำไส้เล็ก
- ลดการสะสมของไขมัน และคอเลสเตอรอล
อีก 1 ทางเลือกสำหรับผู้ที่ต้องการลดการใช้สารเคมีกับร่างกาย และนอกจากนี้ด้วยคุณประโยชน์ของสมุนไพรในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GLUCON (กลูคอน) รวมแล้วกว่า 8 ชนิด จะช่วยดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานให้แข็งแรงได้
สกัดเข้มข้นจากสมุนไพรกว่า 8 ชนิด
สารสกัดมะระขี้นก
ช่วยกระตุ้นการหลั่งของอินซูลินในร่างกาย เพิ่มการดึงกลูโคสออกมาใช้ และลดการดูดซึมน้ำตาลกลูโคสเข้าไปสะสมในกระแสเลือด
ผักเชียงดา
ช่วยสลายน้ำตาล กระตุ้นการสร้าง Islet cells และลดระดับไขมันรวม
อบเชย
ช่วยดึงน้ำตาลกลูโคสไปใช้เป็นพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ขมิ้น
คุมการทำงานของเบต้าเซลล์ ทำให้ค่าอินซูลินดีขึ้น ช่วยลดคอเลสเตอรอลในตับ และยังช่วยฟื้นฟูตับและไตที่ได้รับผลกระทบจากโรคเบาหวานได้ด้วย
กระเทียม
สามารถช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ความดันเลือด และไขมันในเลือดได้ และยังมีสารอัลลิซิน ช่วยกระตุ้นการหลั่งของอินซูลินมากขึ้น
เจียวกู่หลาน
ช่วยลดไขมันและน้ำตาลในเลือด กระตุ้นการหลั่งอินซูลิน
ชะเอมเทศ
ช่วยลดภาวะปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน ลดอาการกระหายน้ำ และช่วยฟื้นฟูตับอ่อนที่เสื่อมสภาพ
พลูคาว
ลดความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
ใช้ GLUCON แล้วดีอย่างไง
ช่วยคุมน้ำตาลในเลือดให้ปกติ
เมื่อร่างกายควบคุมน้ำตาลไม่ได้ ชีวิตก็เสี่ยงขึ้นหลายเท่า แต่การทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GLUCON (กลูคอน) ช่วยลดกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน เพิ่มการดึงน้ำตาลมาใช้ ไม่ให้สะสมในกระแสเลือด เมื่อไม่มีน้ำตาลสะสมในกระแสเลือดมากเกินไป ร่างกายก็ไม่ต้องขับน้ำตาลออกมาพร้อมปัสสาวะ ก็ช่วยลดปัญหาลุกเข้าห้องน้ำบ่อย ๆ ตอนกลางคืนได้ด้วย
ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GLUCON (กลูคอน) มีสมุนไพรที่ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด และลดคอเลสเตอรอลที่ไม่ดีได้ด้วย เมื่อในร่างกายไม่มี 2 สิ่งนี้มากเกินไป ทำให้ลดความเสี่ยงที่จะเกิดโรคหลอดเลือด โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งล้วนเป็นโรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวานได้
ไม่กระทบต่อการใช้ชีวิต
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GLUCON (กลูคอน) ใช้ง่าย และยังสามารถใช้ร่วมกับการทานยาหมอ หรือการฉีดอินซูลินได้ด้วย เพียงแต่ต้องมีการปรึกษาแพทย์ผู้รักษาเบาหวานก่อนใช้ หากใช้ร่วมกันแล้ว ค่าน้ำตาลไม่สูงหรือลดลงจนเกินเกณฑ์ปกติ ก็สามารถขอลดการใช้ยาจากคุณหมอได้เลย
วิธีใช้ เพียง ทานครั้งละ 1 แคปซูล หลังอาหารเช้า และหลังอาหารเย็น
ผลิตภัณฑ์คนเป็นเบาหวาน ด้วยมาตรฐานระดับสากล
- เลขที่ใบรับแจ้ง 65-1-28760-5-0034
- ได้รับการรับรองระบบ HACCP และ GMP
- ผ่านการรับรองมาตรฐาน HALAL (ฮาลาล)
รีวิวจากผู้ใช้จริง GLUCON
แด๊ดดี้เบาหวาน ยังรีวิวให้ GLUCON สมุนไพรรวมต้านเบาหวาน
คุณน้อย พยาบาลวิชาชีพ ผู้ที่เคยเป็นเบาหวานจนหวิดตาบอด
สรุป
โรคเบาหวาน เป็นอีก 1 โรคที่มีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตในประเทศไทยสูงไม่แพ้โรคอื่น ๆ ถึงแม้ว่าในปัจจุบันโรคเบาหวานจะไม่สามารถรักษาหายได้ แต่สามารถควบคุมไม่ให้อาการของโรคเบาหวานหนักกว่าที่เป็นอยู่ได้ ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ และสิ่งสำคัญที่สุดคือการดูแลระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปกติ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GLUCON (กลูคอน) เป็นอีกทางเลือกดี ๆ สำหรับผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องการคุมระดับน้ำตาลให้ปกติ