เมลาโทนิน

เมลาโทนิน คือ ฮอร์โมนที่ถูกสร้างจากต่อมไพเนียล (Pineal Gland) หรือต่อมไร้ท่อใต้สมอง ซึ่งการสร้างฮอร์โมนช่วยให้หลับนี้ต้องผ่านหลายขั้นตอน โดยมี “แสง” เป็นตัวกำหนดหลัก ไม่ว่าจะเป็นแสงจากดวงไฟ พระอาทิตย์ หรือจากมือถือ ต่างก็มีผลต่อการสร้างฮอร์โมนเมลาโทนิน เหมือนกับที่เราได้ยินกันบ่อย ๆ ว่าก่อนนอนไม่ควรเล่นโทรศัพท์

แม้ว่าร่างกายของเราจะสามารถผลิตสารช่วยให้หลับ หรือฮอร์โมนเมลาโทนินได้เอง แต่เมื่อไหร่ที่เราเครียด หรือมีแสงต่าง ๆ เข้ามารบกวนกระบวนการสร้างฮอร์โมนช่วยให้หลับ ก็จะส่งผลให้เรานอนไม่หลับได้  

ทำให้ให้ในปัจจุบันจึงมีการผลิตอาหารเสริม และยานอนหลับที่มีส่วนผสมของสารเมลาโทนินออกมามากมาย เพื่อแก้ปัญหาเรื่องการนอนต่าง ๆ แม้ว่าผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของฮอร์โมนที่ทำให้ง่วงนอนนี้จะมีวางขายทั่วไป ก็ไม่ได้หมายความว่าปลอดภัย 100 % ดังนั้น ก่อนที่เราจะเลือกใช้สารเมลาโทนินจากผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหานอนไม่หลับ เราควรรู้ข้อเท็จจริงเหล่านี้ก่อน

เรื่องน่ารู้ของสารเมลาโทนินในอาหารเสริม

อันตรายเมลาโทนิน

ข้อเท็จจริงที่คนหลับยากต้องรู้ ก่อนใช้ยานอนหลับ หรืออาหารเสริมต่าง ๆ ที่มีส่วนผสมของเมลาโทนิน คือ ประเทศไทยยังจัดให้สารช่วยหลับนี้อยู่ในทะเบียน “ยาอันตราย” ต้องจ่ายโดยแพทย์หรือเภสัชเท่านั้น

แม้ว่าการใช้เมลาโทนินในรูปแบบของอาหารเสริมจะดูปลอดภัยกว่าการใช้ยานอนหลับ แต่ก็ขอแนะนำให้ปรึกษาแพทย์ หรือเภสัชกรก่อนใช้ทุกครั้ง ไม่ควรซื้อมาใช้เอง เพราะอาหารเสริมบางชนิดก็อาจมีส่วนผสมของสารเมลาโทนินมากเกินกว่าที่ร่างกายของเราต้องการ จึงทำให้มีอาการวิงเวียน ปวดหัว และเพลียระหว่างวันได้

เมลาโทนิน แบ่งออกเป็น 2 แบบ

  • แบบที่ 1 แบบปลดปล่อยทันที ซึ่งมีอยู่หลากหลายลักษณะ ทั้งเมลาโทนินรูปแบบอัดเม็ด หรือแบบเยลลี่เคี้ยวหนึบ โดยความแรงจะอยู่ที่ 3 – 10 มิลลิกรัม ซึ่งยังไม่ได้ถูกบรรจุเป็นยาในทะเบียนของประเทศไทย
  • แบบที่ 1 เมลาโทนินแบบออกฤทธิ์เนิ่น ประเภทนี้จะทำให้รู้สึกค่อย ๆ ง่วง จะออกฤทธิ์หลังจากกินไปประมาณ 1 ชั่วโมง โดยความแรงจะอยู่ที่ 2 มิลลิกรัม และมักใช้ในคนที่มีอายุ 55 ปีขึ้นไป

นอกจากอาหารเสริมเมลาโทนินจะช่วยแก้ปัญหานอนไม่หลับ ตื่นกลางดึกบ่อย หรือหลับไม่ได้คุณภาพได้แล้ว ยังมีประโยชน์ช่วยลดอาการเจ็ทแลค (Jet Lag) แถมยังช่วยปรับสมดุลการนอนให้กับคนที่ทำงานเป็นกะหลับได้ง่าย และหลับมีคุณภาพมากขึ้น 

จากประโยชน์ข้างต้นคงทำให้หลายคนคงอยากลองใช้เมลาโทนินเพื่อแก้ปัญหาการนอนกันแล้วใช่ไหม แต่ต้องขอบอกไว้ก่อนเลย ! แม้ว่าสารช่วยให้หลับนี้จะไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด แต่ก็ไม่ได้เหมาะกับทุก ๆ คน โดยเฉพาะเด็ก สตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร ผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้ารวมไปถึงผู้ที่ต้องขับขี่ยานพาหนะด้วย แถมการใช้เมลาโทนินที่เกินขนาดอาจส่งผลข้างเสียต่อสุขภาพในระยะยาวได้อีกด้วย

ข้อควรระวัง ! ก่อนใช้เมลาโทนินแก้อาการนอนไม่หลับ

เมลาโทนิน

อย่างที่ได้กล่าวไว้ตามข้างต้นว่าเมลาโทนินไม่ได้อันตรายอย่างที่เราคิด แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะเหมาะสำหรับทุก ๆ คน เพราะอาจเกิดผลข้างเคียงในบางคนได้ ซึ่งสามารถสังเกตได้ง่าย ๆ จากพฤติกรรมอาการดังต่อไปนี้

  • อ่อนเพลียระหว่างวัน
  • ตื่นยามเช้าไม่สดใส งัวเงียอยากหลับต่อ
  • ปวดหัว วิงเวียน บ้านหมุน
  • ความดันโลหิตต่ำ
  • มวนท้อง ไม่สบายท้อง
  • โมโหง่าย อารมณ์ปรวนแปร

หากมีอาการตามข้างต้นหลังจากที่ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร หรือยานอนหลับที่มีส่วนผสมของเมลาโทนิน ควรหลีกเลี่ยงการใช้ซ้ำ และปรึกษาแพทย์เพื่อแก้ปัญหาหลับยาก แทนการซื้อผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มาใช้เอง เพราะนอกจากจะเกิดผลข้างเคียงแล้ว สารเมลาโทนินในอาหารเสริมยังไม่สามารถใช้ร่วมกับยาบางชนิดอีกด้วย

ยาที่ไม่สามารถใช้ร่วมกับเมลาโทนินได้ อันตรายถึงชีวิต!

เมลาโทนินแก้นอนหลับ
  • ยารักษาโรคเบาหวาน ออกฤทธิ์ทำงานสวนทางกับสารช่วยให้หลับ เพราะเมื่อใช้เมลาโทนินระดับน้ำตาลในเลือดก็จะสูง ส่งผลให้ยาแก้เบาหวานมีประสิทธิภาพลดลง
  • ยานอนหลับโซลพิเดม จัดเป็นยากล่อมประสาทที่จะเข้าไปลดการตื่นตัวของสมอง ทำให้เราง่วงนอน ซึ่งยานอนหลับชนิดนี้อาจส่งผลข้างเคียงต่อผู้ใช้เกี่ยวกับเรื่องการรับรู้ ความทรงจำ และมีงานวิจัยออกมายืนยันด้วยว่าไม่ควรใช้ยานอนหลับโซลพิเดมคู่กับเมลาโทนิน เพราะอันตรายต่อระบบความจำ และระบบกล้ามเนื้อ
  • ยาคุมกำเนิดบางชนิดช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนเมลาโทนินได้อยู่แล้ว ดังนั้น ไม่ควรใช้คู่กัน เพราะจะยิ่งเพิ่มปริมาณของฮอร์โมนช่วยให้หลับในเลือดจนมากเกินไป ควรเลือกใช้เป็นอาหารเสริมที่สกัดจากธรรมชาติแทนยานอนหลับที่มีเมลาโทนิน หรือควรปรึกษาแพทย์ เภสัชกรก่อนใช้ร่วมกับยาคุมกำเนิด

ดังนั้น ก่อนใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารเมลาโทนินควรปรึกษาแพทย์ให้ดีก่อนใช้ทุกครั้ง ไม่ควรสั่งซื้อมาใช้เองแม้ว่าจะเป็นเพียงแค่อาหารเสริมก็ตาม หรือลองเปลี่ยนมาใช้วิธีเพิ่มสารช่วยให้หลับด้วยวิธีธรรมชาติแทนการใช้ยาก่อน เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง

dee nize2
cta deenize1
cta deenize2

ข้อดีข้อเสียของเมลาโทนิน

เมลาโทนิน,เมลาโทนิน คือ,เมลาโทนิน ผลข้างเคียง,เมลาโทนิน อันตรายไหม,เมลาโทนิน ทําหน้าที่อะไร,เมลาโทนิน หน้าที่

ข้อดี

  • ช่วยปรับการนอน สำหรับคนที่มีปัญหาการนอนไม่มาก
  • ราคาถูก มีหลายแบบให้เลือกใช้
  • ใช้ง่าย ทานง่าย

ข้อเสีย

  • อาจเกิดผลข้างเคียง หากใช้ในปริมาณและความถี่ที่ไม่เหมาะสม 
  • ร่างกายสร้างเมลาโทนินได้เองน้อยลง กลับมาหลับเองได้ยากขึ้น
  • อาจก่อให้เกิดอาการ เสพติด และดื้อยาได้
  • ทำลายวงจรการนอนในระยะยาว
  • ผิดกฎหมาย

เมลาโทนิน ไม่ต้องกินก็สร้างได้

การสร้างฮอร์โมนเมลาโทนิน

มาแล้ว ! เคล็ดลับสร้างเมลาโทนินด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องพึ่งยานอนหลับ หรือผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารช่วยให้หลับ เพียงแค่ทำตามวิธีเหล่านี้ จากที่นอนไม่หลับ ก็สามารถเปลี่ยนเป็นหลับง่าย หลับสนิทตลอดคืนได้แล้ว

  • ปิดไฟในห้องนอนให้มืดสนิท เพราะร่างกายของเราจะสามารถหลั่งฮอร์โมนที่ทำให้ง่วงได้ดีในความมืด เพียงแค่พยายามทำให้ห้องนอนของเรามืดที่สุด และเงียบสงบ เพียงเท่านี้ร่างกายก็สามารถผลิตเมลาโทนินออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว
  • นอกจากจะปิดไฟในห้องแล้ว ควรงดเล่นโทรศัพท์ หรือคอมพิวเตอร์ ก่อนเข้านอนอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อไม่ให้แสงสีฟ้าไปรบกวนการผลิตเมลาโทนินของสมอง แรก ๆ อาจจะไม่ค่อยเห็นผล ขอแนะนำให้ลองทำไปเรื่อย ๆ จนเป็นนิสัย เชื่อสิ ! ต่อไปหลับได้ง่ายขึ้น และแถมไม่ตื่นกลางดึกอีกด้วย
  • ปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศให้เย็นสบาย อยากหลับง่ายทำได้แค่ปรับแอร์ เพราะอากาศเย็นสบายจะช่วยให้ร่างกายเรารู้สึกผ่อนคลาย สมองก็จะสามารถผลิตเมลาโทนินออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้หลับได้ง่ายขึ้น และแถมยังช่วยลดน้ำหนักได้ด้วยนะ
  • น้ำมันมะพร้าว ตัวช่วยสร้างเมลาโทนินแบบง่าย ๆ ก่อนเข้านอน เพียงแค่ใช้น้ำมันมะพร้าวนวดเบา ๆ บริเวณศีรษะ ใบหู และเท้า จะช่วยให้เลือดไหลเวียนได้ดี ผ่อนคลายขึ้น ทำให้อยากหลับได้ง่ายขึ้น 
  • แต่ถ้าใครไม่มีเวลานวดผ่อนคลาย หรือไม่ชอบใช้น้ำมันมะพร้าว ขอแนะนำให้มีต้นไม้ปลูกในห้อนนอนสักต้น เพื่อสร้างอากาศบริสุทธิ์ให้กับห้องนอน ซึ่งวิธีนี้สามารถแก้ปัญหานอนไม่หลับได้ไม่แพ้วิธีอื่น ๆ เลย

สำหรับคนที่ลองใช้วิธีเหล่านี้มาแล้วแต่ก็ยังนอนไม่หลับ หรือหลับ ๆ ตื่น ๆ ตลอดคืน ก็อย่าเพิ่งถอดใจ ! หนีไปพึ่งยานอนหลับ หรือเมลาโทนิน ขอแนะนำให้ใช้ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมดีไนซ์ (Dee – Nize) ช่วยปรับสมดุลการนอนจากสารสกัดธรรมาชาติ ❌ปราศจากสารเมลาโทนิน ❌ปราศจากยานอนหลับ 

dee nize2
cta deenize1
cta deenize2

ดีไนซ์ Dee – Nize หลับง่ายไม่ต้องพึ่ง “เมลาโทนิน”

dee-nize

ดีไนซ์ (Dee – Nize) อาหารเสริมของคนนอนไม่หลับ เหมาะมากกับวัยทำงาน หัวหน้างาน หรือคนที่เข้างานเป็นรอบเวลา ปลอดภัยแม้ใช้อย่างต่อเนื่อง ที่สำคัญ ไม่มีส่วนผสมของยาอันตราย และปราศจากสารเมลาโทนิน แต่ช่วยให้หลับง่าย หลับสนิทตลอดคืนด้วยคุณประโยชน์จากธรรมชาติ

  • ผงคาโมมายล์ มีสารสำคัญอย่าง อะพีจีนีน ทำหน้าที่รักษาสมดุลในสมอง ช่วยให้รู้สึกสงบ คลายความกังวล และทำให้หลับง่ายขึ้น
  • ผงเชอร์ทาร์ต ช่วยกระตุ้นการสร้างเมลาโทนินด้วยตนเอง ทำให้ร่างกายอยู่ในสภาวะหลับลึกได้นาน แล้วไม่มีข้างเคียงเหมือนเมลาโทนินสังเคราะห์ 
  • กระชายดำ มีสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ ทำหน้าที่ได้ดีกว่าวิตามินซีและอีถึง 50 เท่า ช่วยทำให้หลับสนิท หลับมีคุณภาพ สามารถเพิ่มการเรียนรู้และความจำ เพิ่มความหนาแน่นของเซลล์ประสาทในสมอง ปกป้องสมองจากการทำลายของโรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองขาดเลือดได้ ไม่มีผลข้างเคียงเหมือนการใช้เมลาโทนิน
  • สารสกัดจากสะระแหน่ฝรั่ง เหมาะมากกับคนที่ชอบนอนกรน เพราะช่วยลดการนอนกรนได้ดี ระงับภาวะอารมณ์หงุดหงิด เสริมสร้างระบบความจำ และช่วยปรับสมดุลความดันโลหิตได้

ด้วยสารสกัดจากธรรมชาติทำให้อาหารเสริมดีไนซ์ (Dee – Nize) ออกฤทธิ์แก้อาการนอนไม่หลับได้อย่างตรงจุด แตกต่างจากการใช้สารเมลาโทนิน โดยดีไนซ์ (Dee – Nize) จะไปยับยั้งไม่ให้ “เซโรโทนิน” ถูกดึงกลับไปสู่ระบบประสาท ทำให้ให้สมองผลิตเมลาโทนินได้ประสิทธิภาพสูง จึงทำให้รู้สึกง่วงนอน

เมลาโทนิน,เมลาโทนิน คือ,เมลาโทนิน ผลข้างเคียง,เมลาโทนิน อันตรายไหม,เมลาโทนิน ทําหน้าที่อะไร,เมลาโทนิน หน้าที่

ซึ่งดีไนซ์ (Dee – Nize) จะออกฤทธิ์ภายใน 30 นาที ทำให้ค่อย ๆ ง่วง ให้ความรู้สึกผ่อนคลาย หลับง่าย และหลับสนิทตลอดคืน ที่สำคัญตอนตื่นนอนจะรู้สึกสดชื่น ไม่งัวเงีย ไม่เพลียระหว่างวัน แตกต่างจากการใช้ยานอนหลับ หรือการใช้อาหารเสริมที่มีส่วนผสมของเมลาโทนิน นอกจากนี้ยังสามารถใช้ได้ต่อเนื่องปราศจากสารข้างเคียง

56
cta deenize1
cta deenize2

สรุป

สำหรับคนที่มีปัญหาเรื่องการนอน ไม่ควรเลือกซื้อเมลาโทนินมาใช้ด้วยตัวเอง เพราะอาจทำให้ร่างกายได้รับสารช่วยให้หลับมากเกิน ส่งผลเสียต่อร่างกายหลายอย่าง ขอแนะนำให้เลือกใช้อาหารเสริมจากธรรมชาติ ที่ปราศจากสารเมลาโทนิน เพื่อแก้ปัญหานอนไม่หลับอย่างปลอดภัย แทนการใช้ยานอนหลับที่มีส่วนผสมของสารช่วยให้หลับ

เมลาโทนิน,เมลาโทนิน คือ,เมลาโทนิน ผลข้างเคียง,เมลาโทนิน อันตรายไหม,เมลาโทนิน ทําหน้าที่อะไร,เมลาโทนิน หน้าที่

ขอขอบคุณ แหล่งข้อมูล จาก